Create Project Part1 : Java on IntelliJ IDEA

Tawan_Ait
4 min readJul 30, 2019

--

ขอบคุณภาพจาก : ps://www.sjpl.org/event/java-teens-grades-6-12
ภาษา Java เป็นภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ( OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมทอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจำพฤติกรรม (Behavior) “ข้อมูลจาก : https://www.mindphp.com/คู่มือ/73-คืออะไร/2185-java-คืออะไร.html”

เริ่มต้นด้วยการสร้าง Project เลือก Create New Project

ภาพที่ 1

ต่อมา : เลือกเป็น Gradle ภาษาเป็น Java 1.8 แล้วแต่ว่าของใครจะเป็น Java version อะไร แล้วคลิก Next

ภาพที่ 2

ต่อมา : GroupId เราก็ใส่ชื่อบริษัท หรือองค์ของเราก็ได้ ในตัวอย่างใช้เป็น com.easyjung ; ส่วนที่เป็น ArtifactId อันนี้เป็นชื่อ Project ที่จะสร้าง ที่นี้ใช้เป็น shopping ; และส่วนที่เป็น Version แล้วจะเริ่มด้วย Version ไหน แล้วคลิก Next

ภาพที่ 3

ต่อมา : ส่วนนี้ก็เลือกตามนี้เลยนะจ๊ะ ส่วนที่เป็น Gradle JVM คือ Java Version ของเรานั้นเอง แล้วคลิก Next

ภาพที่ 4

ต่อมา : เลือกที่จะเก็บไฟล์ Project ของเรา แล้วคลิก Next

ภาพที่ 5

ต่อมา : เข้าสู้หน้า Project แล้ว ลองเช็คว่าใน SRC มีอะไรบ้าง ส่วนตรงนี้ลองคลิกเข้าไปที่ resources เลือก SDKs เพื่อจะดู หรือเลือกเปลี่ยน Version ภาษาที่จะเขียน และคลิก OK

ภาพที่ 6

ต่อมา : มาสร้างClass โดยคลิกที่ คลิกขวาที่ java เลือก New เลือก Java Class

ภาพที่ 7

ต่อมา : ใส่ชื่อ Class หลักว่า Main ขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่นะจ๊ะ แล้วคลิก OK

ภาพที่ 8

ต่อมา : เราก็จะได้ Class : Main มาแล้ว และเราใส่คำสั่งให้ แสดงหรือปริ้นคำว่า “Hello” ออกมาด้วย

System.out.println("Hello");
ภาพที่ 9

ต่อมา : เรามาเริ่มสร้าง Class ย่อย ที่อยู่ใน Main ที่ชื่อว่า Clock : นาฬิกานั้นเองนะคะ และมี Class ที่ชื่อว่า ฺBook

ภาพที่ 10

ต่อมา : เราลองใส่คำสั่งให้เขาแสดงผลออกมาให้ดู ส่วนนี้จะทำในส่วนที่อยู่ข้างบนอยู่ในตัว Main หลักของเรา

ภาพที่ 11

ต่อมา : มาดูผลลัพธ์ที่จะแสดงออกมาให้เห็น จะมีการเปรียบเทียบว่าของสิ่งว่าตรงกันไหม ถ้าจะเป็น false ถ้าตรงกันจะเป็น true

ภาพที่ 12

คำสั่งในการเปรียบเทียบ

System.out.println(); //แสดงผลออกมา เป็นช่องว่าง"แบบ Attribute แรก"
System.out.println("c1 vs c2 are same: " + c1.equals(c2));
//เปรียบเทียบนาฬิกาทั้งสองเป็นแบบเดียวกันไหม
"แบบ Attribute ต่อต่อมาทำแบบนี้ต้องเพิ่ม .get... เข้าไปด้วย"
System.out.println("c1 vs c2 Time are same: " + c1.getTime().equals(c2.getTime()));
//เปรียบเทียบนาฬิกาทั้งสองเวลาตรงกันไหม
System.out.println("c1 vs c2 Price are same: " + c1.getPrice().equals(c2.getPrice()));
//เปรียบเทียบนาฬิกาทั้งสองราคาเท่ากันไหม

******************************/\_/\*******************************

คำสั่ง Keys ที่ควรรู้จำ!!Run : Shift + Control + R
Comment : Command + /
Chang Text : Shift + Fn + F6 //"หรืออีกอย่างว่า Refactor > Rename"
Generate : Command + n //"เช่น Generate > Getter and Setter ของ Attribute"
Another!!
\n : ขึ้นบรรทัดใหม่ //เช่น msg += "\n Clock Total: " + price;
"......" + : เพิ่มข้อคววาม และเครื่องหมายบวก คือต่อ Attribute

ไว้มาต่ออีก Part2 นะจ๊ะตัวเธอ หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อต่อผู้ที่สนใจ อยากลอกสิ่งใหม่ๆ เราเองก็เริ่มต้นเหมือนกัน มาเริ่มต้นพร้อมๆ กันน่ะ ช่วยติชมมาได้เลยเน้อ จะได้เอาไว้ปรับปรุงให้ดีขึ้น

::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::=> เริ่มต้นเอามากๆเลยขั้นตอนการ Create ยังเหมือนเดิม น่ะจ๊ะ

ขอเพิ่มเติมอีกนิดนะคะ กรณีนี้ไว้ศึกษา เริ่มต้นมากๆ เลย ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาด้วยบนเน้อ เพื่อความเข้าใจมากขึ้น สำหรับตัวเองเลยยย อิอิ

ภาพรวมในการเขียน
ผลลัพธ์ที่ได้ จากภาพรวม

ส่วนแรกเนาะ : Main แต่ถ้าเอาไว้เขียนทีหลังจะโอเคกว่า เพราะเอาไว้สั่งงานให้แสดง ส่วนของกระบวนการอยู่ด้านล่างมาดูกัน

public class Main { //ประกาศฟังก์ชัน Main
public static void main (String [] args){
System.out.println("------Hello----Welcome---to----My------Car------");

Car c1 = new Car("TOYOTA"); //กำหนดค่าให้กับ Attribute : Type
c1.setPrice("599,990 ฿"); //กำหนดค่าให้กับ Attribute : price

Car c2 = new Car("HONDA"); //กำหนดค่าให้กับ Attribute : Type
c2.setPrice("999,990 ฿"); //กำหนดค่าให้กับ Attribute : price

Car c3 = new Car("YAMAHA"); //กำหนดค่าให้กับ Attribute : Type
c3.setPrice("1,999,990 ฿"); //กำหนดค่าให้กับ Attribute : price

System.out.println(c1); //คำสั่งแสดงค่าของตัวแปร c1 ออกมา
System.out.println(c2); //คำสั่งแสดงค่าของตัวแปร c2 ออกมา
System.out.println(c3); //คำสั่งแสดงค่าของตัวแปร c3 ออกมา


}
};

ส่วนที่สอง : เรียกได้ว่านางคือกระบวนการ นำมาสู่สิ่งที่ต้องการ แนะนำให้เขียนตัวนี้ก่อน เช่น รถ รถจะต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ตรงนี้ยกตัวอย่างแค่ ยี่ห้อรถ ราคารถ แล้วรถมีกี่คันละ ค่อยไปเพิ่มในส่วนแรก เป็นการเก็บข้อมูลไว้ในส่วนนั้น เปลืองพื้นที่ Ram หน่อย

class Car {
//Attribute คุณสมบัติ
String type;
String price;


//Constructor สร้าง
Car(String type){
this.type = type;
}
//ส่วนนี้เป็นส่วนของ String ทั้งหมด พิมพ์บอกไปว่า toString แล้วจะขึ้นมาให้เลือก
@Override
public String toString() {
return "รถยี่ห้อ : " + type + "ราคา : "+ price; //ส่งข้อมูลกลับมา
}
//ส่วนที่เป็น String price พิมพ์บอกไปว่า getPice แล้วจะขึ้นมาให้เลือก
public String getPrice() { //getPrice คือได้รับ Price
return price; //ส่งข้อมูลกลับมา
}

public void setPrice(String price) { //setPrice คือ กำหนด Price
this.price = price; //ส่งข้อมูลกลับมา
}
}
"เครื่องหมาย + คือ การต่อ string"

น่าจะเอาไว้เท่านี้จริงๆ แล้วล่ะ หลังๆ มาเริ่ม งง แฮ่ะ ฮาๆๆ ด่าได้แต่อย่าแรงเดี๋ยวร้องไห้หนักมาก ฮาๆ . ติมาได้เลย เราพร้อมรับมือ จุบุ จุบุ

--

--

No responses yet